เมนู

5. สมนันตรปัจจัย


1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

6. สหชาตปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

มี 9 วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี 6 วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ

9. อุปนิสสยปัจจัย


[388] 1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทังหลาย
ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
2. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
3. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
4. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา สุขทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย โมหะ เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

5. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ
โภชนะ เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
6. อาสววิปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ ศีล ฯลฯ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต
ด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
7. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
8. อาสวสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม
และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
9. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.

10. ปุเรชาตปัจจัย


[389] 1. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย